Saturday, June 27, 2015

วิธีการทางประวัติศาสตร์กับวิธีการทางวิทยาศาสตร์
















วิธีการทางประวัติศาสตร์กับวิธีการทางวิทยาศาสตร์


    วิธีการทางประวัติศาสตร์ กับวิธีการทางประวัติศาสตร์ มีบางส่วนที่คล้ายคลึงกัน และมีบทส่วนแตกต่างกันดังนี้

     1. วิธีการทางประวัติศาสตร์มีการกำหนดประเด็นปัญหาเพื่อสืบค้นหาคำตอบ เช่นเดียวกับวิธีการทางวิทยาศาสตร์ที่มีการสร้างสมมติฐานขึ้นแล้วทดลองเพื่อตรวจสอบสมมติฐานนั้น

     2. วิธีการทางวิทยาศาตร์ใช้วิธีการสร้างสถานการณ์ใหม่หรือ ทดลองเพื่อตรวจสอบสมมติฐานที่ตั้งขึ้น แต่นักประวัติศาสตร์ไม่สามารถสร้างสถานการณ์ขึ้นใหม่เหมือนกับสถานการณ์ที่เกิดขึ้นจริงในอดีตได้ เพราะเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในอดีตจะเกิดขึ้นคร้งเดียว มีลักษณะเฉพาะ

และไม่สามารถสร้างขึ้นซึ่งได้อีก แต่นักประวัติศาสตร์จะรวบรวมข้อมูลจากหลักฐานอย่างหลากหลายตรวจสอบความน่าเชื่อถือของหลักฐาน จนกระทั่งได้ข้อมูลที่จะสร้างความมั่นใจว่าจะสามารถอธิบายและสรุปหลักการได้

     3. การนำเสนอผลงานของนักวิทยาศาสตร์ และนักประวัติศาสตร์ก็อาศัยหลักการความเป็นไปได้มาคาดคะเน และสรุปผลเช่นกัน แต่ผลสรุปทางวิทยาศาสตร์ จะสามารถนำไปทดลองซ้ำ ๆ ก็จะได้ผลเช้นนั้นทุกครั้ง แต่ผลสรุปทางประวัติศาสตร์ไม่สามารถนำไปลดทองได้ และมีความแตกต่างที่เป็น มิติของเวลา เช่นเดียวกับศาสตร์ทางสังคมอื่น ๆ ที่ไม่สามรารถควบคุมปัจจัยท่เป็นตัวแปลได้ทั้งหมด

    4. ประวัติศาสตร์เป็นศาสตร์ที่ไม่สามารถนิยามคำเฉพาะเพราะความหมายจะไม่ชัดเจนตายตัวในทุกกาลและเทศะ เช่น ประชาธิปไตยของท้องถิ่นหนึ่ง กับอีกท้องถิ่นหนึ่งจะมีนัยแตกต่างกัน ขึ้นอยู่กับผู้ใช้หรือผู้นิยาม ซึ่งแตกต่างกับวิทยาศาสตร์ที่สามารถให้นิยามคำเฉพาะที่มีความหมายตายตัวไม่เปลี่ยนแปลงตามเวลา และสถานที่

วิธีการทางประวัติศาสตร์
















        หมายถึง กระบวนการสืบค้นเรื่องราวในอดีตของสังคมมนุษย์ เริ่มต้นที่ความอยากรู้อยากเห็นของผู้ต้องการศึกษาและต้องการสอบสวนค้นคว้าหาคำตอบด้วยตนเอง จากร่องรอยที่คนในอดีตได้ทำไว้และตกทอดเหลือมาถึงปัจจุบัน โดยไม่หลงเชื่อคำพูดของใครคนใดคนหนึ่ง หรืออ่านหนังสือเพียงเล่มใดเล่มหนึ่งแล้วเชื่อว่าเป็นจริง สิ่งที่ต้องทำเป็นอันดับแรกของการสืบค้นอดีต เมื่อมีประเด็นที่ต้องการสืบค้นแล้ว คือการเก็บรวบรวมข้อมูลจากหลักฐานทางประวัติศาสตร์อย่างกว้างขวางและละเอียดลออ ด้วยวิธีการต่างๆ เช่น สอบถามผู้รู้ ศึกษาเอกสาร เรียนรู้จากแหล่งเรียนรู้ด้วยตนเอง ตรวจสอบข้อมูลจากหลักฐานทุกชิ้นด้วยจิตสำนึกว่า หลักฐานไม่ได้บอกความจริงทั้งหมด หรือบอกความจริงเสมอไป แล้วรวบรวมข้อเท็จจริงที่ได้ จากนั้นนำเสนอผลที่ศึกษาได้พร้อมอ้างอิงหลักฐานให้ชัดเจนเพื่อให้ผู้อื่นตรวจสอบ หรือศึกษาค้นคว้าต่อไปได้
        คนเราจะเดินหน้าต่อไปได้ยังไงครับ ถ้าไม่รู้อดีตของตัวเอง ของบรรพบุรุษ ของประเทศ อย่างเช่น การเสียกรุง ครั้งที่ หนึ่ง กับสอง เพราะคนไทยเเตกเเยกกันเองนะครับ ผู้นำก็ไม่เข้มเเข็ง  การศึกษาปประวัติศาสตร์ ไม่ใช่เเค่ช่วยการศึกษานะครับ เเต่ยังช่วยให้มองเห็นการผิดพลาด ของบรรพพบุรุษในอดีต เเละ การที่บรรพบุรุษรักกษาเอกราชด้วยการเสียชีวิตตัวเองนั้น ก็เพื่อให้พวกเราเรียกตัวเองไเด้ ว่าเราเป็นคนไทย 

        ประวัติศาสตร์ไม่ได้มีคุณค่าเเค่การศึกษานะครับ มีคุณค่า ต่อการที่เราจะเดินหน้าต่อไปได้อย่างไร เเละมีคุณค่าต่อความเป็นคนไทยครับ มีค่าต่อการศึกษาในเเง่เราได้ศึกษา การเมืองในสมัยนั้น การค้าขาย การพฒนาสังคม วิถีชุมชนในอดีต การวิเคราะห์เหตการณ์ต่างๆๆ เเล้วนำมาเปรียบเทียบกับปัจจุบันเพพื่อวางเเผนป้องกันไม่ให้เกิดผิดพลาดอีก 

        หลายๆคนอาจพูดว่า อย่าไปสนใจอดีตเลย ผ่านไปปเเล้ว เเต่เค้าเหล่านั้นคิดเเบบไร้สติครับ คนเราต้องเรียนรู้จากอดีต เพื่อหาหนทาง ปป้องกันวางเเผน ในปัจจุบันเเละอนาคต

การวิเคราะห์ข้อมูลทางประวัติศาสตร์














การวิเคราะห์ข้อมูลทางประวัติศาสตร์


        คือการวิเคราะห์และตีความข้อมูลทางประวัติศาสตร์ โดยการนำข้อมูลที่ได้สืบค้นรวบรวม คัดเลือก และประเมินไว้แล้วนำมาพิจารณาในรายละเอียดทุกด้าน ซึ่งนักประวัติศาสตร์ต้องใช้เหตุผลเป็นแนวทางในการตีความเพื่อนำไปสู่การค้นพบข้อเท็จจริงทางประวัติศาสตร์ที่ถูกต้อง 

        ความสำคัญนั้นเพื่อใช้เป็นแนวทางสำหรับผู้ศึกษาประวัติศาสตร์ หรือผู้ที่จะเรียนรู้ประวัติศาสตร์จะได้นำไปใช้ด้วยความรอบคอบ ระมัดระวัง ไม่ลำเอียง และเกิดความน่าเชื่อถือได้มากที่สุด

        1. หลักฐานที่จำแนกตามความสำคัญ
           1.1 หลักฐานชั้นต้น
           1.2 หลักฐานชั้นรอง

        2. หลักฐานที่ใช้อักษรเป็นตัวกำหนด
           2.1 หลักฐานที่เป็นลายลักษณ์อักษร
           2.2 หลักฐานที่ไม่เป็นลายลักษณ์อักษร

        3. หลักฐานที่กำหนดตามจุดหมายของการผลิต
           3.1 หลักฐานที่มนุษย์ตั้งใจสร้างขึ้น
           3.2 หลักฐานที่มิได้เป็นผลผลิตที่มนุษย์สร้างหรือตั้งใจสร้าง

1. หลักฐานที่จำแนกตามความสำคัญ
        1.1 หลักฐานชั้นต้น primary sources
       หมายถึง คำบอกเล่าหรือบันทึกของผู้พบเห็นเหตุการณ์หรือผู้ที่เกี่ยวข้องกับเหตุการณ์โดยตรง ได้แก่ บันทึกการเดินทาง จดหมายเหตุ จารึก รวมถึงสิ่งก่อสร้าง หลักฐานทางโบราณคดี โบราณสถาน โบราณวัตถุ เช่น โบสถ์ เจดีย์ วิหาร พระพุทธรูป รูปปั้น หม้อ ไห ฯลฯ                                                                                      
        1.2 หลักฐานชั้นรอง secondary sources                       
        หมายถึง ผลงานที่เขียนขึ้น หรือเรียบเรียงขึ้นภายหลังจากเกิดเหตุการณ์นั้นแล้ว โดยอาศัยคำบอกเล่า หรือจากหลักฐานชั้นต้นต่างๆ ได้แก่ ตำนาน วิทยานิพนธ์ เป็นต้น

2. หลักฐานที่ใช้อักษรเป็นตัวกำหนด

        2.1 หลักฐานที่เป็นลายลักษณ์อักษร written sources
   หมายถึง หลักฐานที่มีการบันทึกเป็นลายลักษณ์อักษรบอกเล่าเรื่องราวต่างๆ ได้แก่ ศิลาจารึก พงศาวดาร ใบลาน จดหมายเหตุ วรรณกรรม ชีวประวัติ หนังสือพิมพ์ วารสาร นิตยสาร รวมถึงการบันทึกไว้ตามสิ่งก่อสร้าง โบราณสถาน โบราณวัตถุ แผนที่ หลักฐานประเภทนี้จัดว่าเป็นหลักฐานสมัยประวัติศาสตร์
        2.2 หลักฐานที่ไม่เป็นลายลักษณ์อักษร
   หมายถึง สิ่งที่มนุษย์สร้างขึ้นทั้งหมดที่ไม่เป็นลายลักษณ์อักษร ได้แก่ สิ่งก่อสร้าง โบราณสถาน โบราณวัตถุ ศิลปการแสดง คำบอกเล่า นาฏศิลป์ ตนตรี จิตรกรรม ฯลฯ

3. หลักฐานที่กำหนดตามจุดหมายของการผลิต

        3.1 หลักฐานที่มนุษย์ตั้งใจสร้างขึ้น artiface
หลักฐานที่มนุษย์สร้างขึ้นเพื่อใช้ในการดำรงชีวิต
        3.2 หลักฐานที่มิได้เป็นผลผลิตที่มนุษย์สร้างหรือตั้งใจสร้าง

ประโยชน์ของการวิจัยเชิงประวัติศาสตร์



ประโยชน์ของการวิจัยเชิงประวัติศาสตร์

        แม้ว่างานวิจัยทางด้านประวัติศาสตร์จะเป็นเพียงข้อเท็จจริงส่วนหนึ่งของอดีตก็ตาม ย่อมจะส่งผลมาถึงเหตุการณ์ในปัจจุบัน และอาจมีอิทธิพลไปถึงสิ่งที่จะเกิดขึ้นต่อไปในอนาคตได้ ดังนั้นการวิจัยเชิงประวัติศาสตร์จึงมีประโยชน์สำคัญดังนี้
        8.1 ทำให้เราทราบสภาพของปัญหาที่เกิดขึ้นในอดีต และเมื่อพบปัญหาที่จะเกิดขึ้นในสภาพเดียวกันนี้เกิดขึ้นอีก
        8.2 ผลการวิจัยเชิงประวัติศาสตร์สามารถนำมาใช้แก้ไขข้อผิดพลาดต่าง ๆ ในปัจจุบันได้ ทั้งนี้เพราะการวิจัยนี้จะพบว่ามีปัจจัยใดบ้างที่เป็นจุดบกพร่อง ซึ่งสามารถนำมาแก้ไขข้อบกพร่องของงานในปัจจุบันได้
        8.3 เนื่องจากความเป็นมาในอดีตเป็นรากฐานของความเป็นอยู่และความเป็นไปในปัจจุบันและส่งผลต่อไปในอนาคตด้วย ดังนั้นการวิจัยเชิงประวัติศาสตร์จึงใช้เป็นแนวทางในการปรับปรุงแก้ไขสิ่งต่าง ๆ เพื่อให้เหมาะสมกับสภาวะปัจจุบันได้
        8.4 เพื่อใช้เป็นพื้นฐานของการปฏิบัติงานในปัจจุบัน และเป็นพื้นฐานแก่ผู้ที่จะทำการศึกษาค้นคว้าต่อไป

องค์กรความร่วมมือระหว่างประเทศ


องค์กรความร่วมมือระหว่างประเทศ
            
การจัดตั้งองค์การระหว่างประเทศอาจจำแนกออกเป็นสองระดับหลัก  คือองค์การระหว่างประเทศระดับโลก  และระดับภูมิภาค  ซึ่งทั้งสองระดับล้วนเป็นองค์การเพื่อประสานประโยชนืร่วมกันระหว่างประเทศปัจจุบัน  ดังนี้
 1.องค์การสหประชาชาติ(The United Nations:UN)สถาปนาอย่างเป็นทางการ  เมื่อวันที่ 24  ตุลาคม พ.ศ. 2488 หลังสงครามโลกครั้งที่สองยุติลง  มีสำนักงานใหญ่อยู่ที่กรุงนิวยอร์กประเทศสหรัฐอเมริกา  มีประเทศเอกราชทุกภูมิภาคเป็นสมาชิกไม่ต่ำกว่า  190 ประเทศในปัจจุบัน  
1.1  เพื่อธำรงรักษาไว้ซึ่งสันติภาพและความมั่นคงระหว่างประเทศ
1.2  เพื่อพัฒนาความสัมพันธ์ฉันท์มิตรระหว่างประชาชาติ โดยยึดการเคารพต่อหลักการแห่งสิทธิอันเท่าเทียมกัน
1.3  เพื่อให้บรรลุถึงความร่วมมือระหว่างประเทศ  ในอันที่จะแก้ไขปัญหาระหว่างประเทศทางด้าน  เศษฐกิจ  สังคม และมนุษยธรรมและการส่งเสริมสนับสนุนการเคารพต่อสิทธิมนุษยชนและเสรีภาพขั้นมูลฐานสำหรับทุกคน โดยไม่เลือกปฎิบัติในเรื่องเชื้อชาติ    ศาสนา  เพศ  หรือภาษา
1.4  เพื่อเป็นศูนย์กลางประสานงานของประชาชาติทั้งหลายให้กลมกลืนกัน  ในอันที่จะบรรลุจุดหมานปลายทางร่วมกัน 
 เช่น   การรักษาสันติภาพ  ส่งเสริมประชาธิปไตย  ส่งเสริมด้านมนุษย์ชน  พัฒนาความสัมพันธ์ทางการค้าระดับโลก  ให้ความคุ้มครองด้านทรัพย์สินทางปัญญา  เป็นต้น
2.สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้(Association  of  Southeast  Asian  Nation:  ASEAN)หรืออาเซียน
ก่อตั้งขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2510  โดยมีสมาชิกเริ่มแรก  5 ประเทศ  คือ   ไทย อินโดนีเซีย  มาเลเซีย  ฟิลิปปินส์  และสิงคโปร์   ในปัจุบันได้สมาชิกเพิ่มได้แก่  บรูไน เวียดนาม  ลาว  และกัมพูชา
โดยมีวัตถุประสงค์สำคัญเพื่อเร่งรัดความเจริญเติบโตทางเศษฐกิจ  ความก้าวหน้าทางสังคม  วัฒนธรรมของภูมิภาค   ส่งเสริมสันติภาพ  และเสถียรภาพของภูมิภาคตามหลักของสหประชาชาติ  ส่งเสริม  ร่วมมือและช่วยเหลือซึ่งกันและกันในเรื่องผลประโยชน์ทาเศษฐกิจ  สังคม  วัฒนธรรม วิชาการ  การบริหารอย่างจริงจัง
3.เขตการค้าเสรีอาเซียน(Asean  free  trade  area: AFTA)
เขตการค้าเสรีอาเซียน หรืออาฟตา เป็นการร่วมมือทางเศษฐกิจที่ทำให้การค้าขายในกลุ่มอาเซียนขยายตัว เป็นความคิดริเริ่มที่มาจากอดีตนายกรัฐมนตรีไทย   คือ นายอานันท์ ปันยาชุน    ที่เสนอต่อที่ประชุมอาเซียน  ณ  ประเทศสิงคโปร์    
โดยมีวัตถุประสงค์  เพื่อให้การค้าภายในอาเซียนเป็นไปโดยเร็ว  อัตรภาษีต่ำที่สุด และเพื่อดึงดูดการลงทุนจากต่างชาติสู่ภูมิภาคอาเซียน ตลอดจนเพื่อให้สอดคล้องกับสถานการณ์การค้าโลกที่เป็นระบบเสรียิ่งขึ้น  ซึ่งเป็นประโยชน์ต่อเศษฐกิจของไทยอย่างจริงจัง ระบบการค้าเสรี  เป็นลักษณะทวิภาคี  ระหว่างประเทศไทยกับประเทศในเอเชียใต้ เอเชียตะวันออกเฉียงใต้  ออสเตรเลีย  และนิวซีแลนด์เป็นต้น
4.ความร่วมมือทางเศษฐกิจเอเชียแปซิฟิก หรือเอเปก(Asia-pacific economic cooperation:APEC)
ก่อตั้งใน  พ.ศ. 2532 ตามข้อเสนอของนายบ็อบฮอร์ก  อดีตนายกรัฐมนตรีประเทศออสเตรเลีย โดยกลุ่มเอเปกเป็นกลุ่มเศษฐกิจที่มีประชากรรวมกันมากที่สุดกว่า 2,000  ล้านคน ครอลคลุม สามทวีป  คือ  เอเชีย อเมริกา และออสเตรเลีย มีสำนักงานตั้งอยู่ที่ประเทศ
สิงคโปร   มีวัตถุประสงค์เพื่อสนับสนุนการขยายตัวทางเศษฐกิจของภูมิภาคเอเชียและของโลก  โดยต้องการพัฒนาส่งเสริมระบบการค้าพหุภาคีที่อยู่บนรากฐานของการเปิดการค้าเสรี  การลงทุน และหาทางลดอุปสรรคทางการค้า  โดยยึดหลักผลประโยชน์ร่วมกัน ซึ่งไทยเคยเป็นเจ้าภาพการจัดประชุมในปี พ.ศ.  2546 

ที่มาและได้รับอนุญาตจาก:
ผศ.วิชัย ภู่โยธิน และคณะ.หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรมและการดำเนินชีวิตในสังคม ม.4-ม.6 .พิมพ์ครั้ง

ความขัดแย้งระหว่างประเทศครั้งสำคัญในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 20 เรื่องสงครามโลกครั้งที่ 1 และสงครามโลกครั้งที่ 2

สาเหตุของสงครามโลกครั้งที่ 1


การขยายตัวของลัทธิชาตินิยม การขยายลัทธิจักรวรรดินิยม การพัฒนาระบบพันธมิตรของประเทศยุโรปและการเติบโตของลัทธิทหารนิยม เป็นสาเหตุสำคัญที่ทำให้

เกิดสงครามโลกครั้งที่ 1

ความศรัทธาการขยายตัวของลัทธิชาตินิยม
แนวคิดชาตินิยม หรือลัทธิชาตินิยม (Nationalism) หมายถึง ลัทธิหรือความเชื่อของกลุ่มคนที่ถือเอาเชื้อชาติของตนเป็นใหญ่ มีความรู้สึกหรือความคิดรักชาติของตนอย่างมาก ลัทธิชาตินิยมที่เกิดขึ้นนั้นมีมาตั้งแต่ในคราวคริสต์ศตวรรษที่ 19 ส่งผลกระทบการเปลี่ยนแปลงทางการเมือง และการปกครองของยุโรปดังนีี้
ชุมชน1. ลัทธิชาตินิยมนำไปสู่การรวมชาติ เกิดความต้องการดินแดนที่มีประชากร เชื้อชาติ ภาษา ศาสนา และวัฒนธรรมเดียวกันให้เป็นประเทศ ทำให้เกิดรัฐหรือประเทศใหม่ๆ ในต้นศตวรรษที่ 20 โดยเฉพาะในแหลมบอลข่านที่ต้องการปกครองตนเองและเป็นอิสระจากอำนาจจักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี และจักรวรรดิออตโตมัน เช่น อิตาลี เดนมาร์ก ประเทศที่ส่งเสริมกลุ่มชาตินิยมในแหลมบอลข่าน คือ เซอร์เบีย (Serbia)
1372838062auditddcorg12. ลัทธิชาตินิยมนำไปสู่การขยายอำนาจและความขัดแย้งระหว่างประเทศ ทำให้ประเทศต่างๆ ต้องการสร้างความเข้มแข็งและยิ่งใหญ่ให้แก่ชาติตนเอง ทั้งทางด้่านเศรษฐกิจ การเมือง และการทหาร ซึ่งนำไปสู่ปัญหาความขัดแย้ง การทำสงครามขยายดินแดนและแย่งชิงแหล่งทรัพยากร
การขยายตัวของลัทธิจักรวรรดินิยม ลัทธิจักรวรรดินิยม (Imperialism) เกิดขึ้นในตอนปลายคริสต์สตวรรษที่ 19 เป็นแนวความคิดของชาติมหาอำนาจในยุโรปที่ต้องการขยายอำนาจและอทธิพลของตนเข้าครอบครองดินแดนที่ล้าหลังและด้อยความเจริญในทวีปต่างๆ เพื่อแสวงผลประโยชน์ทั้งทางการเมืองและเศรษฐกิจ เช่น เป็นแหล่งวัตถุดิบ และตลาดระบายสินค้า เป็นต้น
การแข่งขันขยายลัทธิจักรวรรดินิยมของมหาอำนาจยุโรปในปลายคริสต์สตวรรษที่ 19 ส่งผลให้เกิดความขัดแย้งระหว่างประเทศเหล่านั้นจนทำให้มีการแบ่งขั้วอำนาจที่ปรากฏในระบบพันธมิตรของยุโรป
ระบบพันธมิตรของยุโรป ในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 ปรัสเซีย (Prussia) ได้พัฒนาเป็นจักรวรรดิเยอรมนีและผนึกกำลังกับชาติพันธมิตรเพื่อโดดเดี่ยวฝรั่งเศสซึ่งเป็นศตรูและคู่แข่งสำคัญในการขยายลัทธิจักรวรรดินิยม ต่อมาได้เกิดระบบพันธมิตรของยุโรป คือกลุ่มไตรพันธมิตร (Triple Alliance) หรือกลุ่มสัมพันธมิตร ประกอบด้วย อังกฤษ ฝรั่งเศสและรัสเซีย การแบ่งขั้วอำนาจในยุโรปทำให้แต่ละประเทศกล้าเผชิญหน้ากันเพราะต่างก็มีพันธมิตรหนุนหลังAlliances_map
การเติบโตของลัทธิทหารนิยม ผู้นำประเทศในยุโรปต่างเชื่อว่าการสร้างจักรวรรดิที่ยิ่งใหญ่จะต้องใช้กำลังทหารสนับสนุนและทำสงครามขยายอำนาจ เช่น ปรัสเซียใช้วิธีการทำสงครามเพื่อขยายดินแดนฝรั่งเศส และเดนมาร์ก ส่วนอิตาลีก็ใช้กำลังสงครามรุกรานอบิสซิเนีย ดังนั้นรัฐบาลต่างๆ จึงให้ความสำคัญกับการพัฒนากองทัพและอาวุธยุทโธปกรณ์ อนึ่ง ความเข้มแข็งทางการทหารและการสนับสนุนจากกองทัพได้ทำให้ประเทศเหล่านั้นยินดีเข้าสู่สงครา

Friday, June 26, 2015


บทบาทอาเซียนในสังคมโลก
อาเซียน ทั้งในด้านเศรษฐกิจการเมืองสังคมและวัฒนธรรมซึ่งความเข้มแข็งของอาเซียน
ความสำคัญของอาเซียนในเวทีโลก
          จากการที่ประชากรรวมกันแล้วเกือบ 600 ล้านคนซึ่งเป็นทั้งตลาดที่มีกำลังสูงมีแนวโน้มขยายตัวได้มาก ดังนี้
          ความสำคัญทางด้านเศรษฐกิจ เช่นข้าวหอมมะลิน้ำมันปาล์มมะพร้าวเป็นต้นและยังเป็นแหล่งทรัพยากรที่สำคัญ ส่งผลให้ประเทศมีฐานะทางเศรษฐกิจดี ซึ่งหลายประเทศเช่นจีนอังกฤษไทยรวมถึงสหรัฐอเมริกา และเปิดรับการลงทุนจากภายนอก
          มีประเทศที่มีแรงงานมีคุณภาพค่าแรงไม่สูงเช่นไทยเวียดนามฟิลิปปินส์ ในโลก
          ความสำคัญทางการเมือง เช่น เช่นในสงครามเวียดนามในสงครามการเมืองกัมพูชาผู้อพยพที่เป็นชนกลุ่มน้อยในพม่าเป็นต้น
บทบาทของอาเซียนในเวทีเศรษฐกิจโลก
          และเป็นตลาดที่มีกำลังซื้อสูง
          คือเหตุการณ์อุทกภัยครั้งใหญ่ในปลาย พ.ศ. 2554 ในภาคกลางของประเทศไทย ทำให้การผลิตสินค้าหยุดชะงักกระทบถึงสินค้าในตลาดโลกเช่น ส่งผลให้สินค้าขาดตลาด
          และกลุ่มประเทศนอกประเทศอาเซียนดังนี้
การสร้างความร่วมมือในประเทศสมาชิกอาเซียน
          คือ โดยมีเป้าหมายหลักคือ เมื่อ พ.ศ. 2535 แต่อาเซียนมีเป้าหมายสูงสุดคือการเป็นประชาคมเศรษฐกิจทางการเงินและการคลัง
          นอกจาการตั้งอาฟตาแล้ว คือจีนพม่าเวียดนามลาวกัมพูชาและไทยโดยรณรงค์ระหว่าง พ.ศ. 2543-2553 ให้สอดคล้องกับตลาดอาเซียน
          และมูลค่าทางเศรษฐกิจสูง ส่วนสินค้าจากอาเซียนเช่นข้าวผลไม้ท้องถิ่นโดยเฉพาะทุเรียนลำไยเงาะ
          อย่างไรก็ตาม คือปัญหาลักลอบค้ายาเสพติดสินค้าหนีภาษี หรือพ่อค้าสิ่งเสพติดซึ่งในระยะแรกที่การค้าขยายตัว
          ขยายเศรษฐกิจของอาเซียนเพราะอาเซียนมีตลาดขนาดใหญ่มีกำลังซื้อสูง
การสร้างความร่วมมือกับประเทศหรือกลุ่มประเทศนอกอาเซียน
          เช่น
          ความร่วมมืออาเซียน +3 (ASEAN บวกสาม) คือ 10 ประเทศร่วมกับจีนญี่ปุ่นและเกาหลีใต้
          ความร่วมมืออาเซียน +6 (เพิ่มอีก 3 ประเทศ ได้แก่ ออสเตรเลียนิวซีแลนด์และอินเดีย) (GDP) ใหญ่เป็น 1 ใน 4 ของโลก
          9 ประเทศคือจีนญี่ปุ่นเกาหลีใต้สหรัฐอเมริกาแคนาดาออสเตรเลียอินเดียและรัสเซีย
          เมื่อเปรียบเทียบกับเศรษฐกิจโลกดังนี้
          อาเซียนสมาชิก 10 ประเทศประชากร 583 ล้านคน (9% ของประชากรโลก)
          จีดีพี 1,275 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ (2% ของจีดีพีโลก)
          อาเซียน +3 ประชากร 2,068 ล้านคน (31% ของประชากรโลก)
          จีดีพี 9,901 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ (18% ของจีดีพีโลก)
          อาเซียน + 6 ประชากร 3,284 ล้านคน (50% ของประชากรโลก)
          จีดีพี 12,250 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ (22% ของจีดีพีโลก)
ที่มา: กรมเจรจาระหว่างประเทศกระทรวงพาณิชย์
          เช่น (APEF) และกลุ่มประเทศลาตินอเมริกา 7 ประเทศ (ยกเว้นกัมพูชาลาวและพม่า) เป็นต้น
          ดังนั้น หากการรวมกลุ่มภายในอาเซียนมีความเข้มแข็ง จะทำให้อาเซียนมีความพร้อมที่จะขยายการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจในระดับกว้างขวางขึ้น และเป็นศูนย์กลางของการร่วมกลุ่มในภูมิภาคนี้ได้ในที่สุด
          การรวมกลุ่มประเทศยังเป็นผลดีต่อประเทศหรือประเทศในระยะยาว เพราะจะทำให้ไม่โดดเดี่ยวในยุคการค้าเสรี

Wednesday, June 24, 2015

สงครามเย็น( Cold War )





สงครามเย็น (Cold War)

สงครามเย็น (Cold War) 

สงครามเย็นหมายถึง ผู้นำลัทธิคอมมิวนิสต์เป็นการปะทะกันทุก ๆ วิถีทางยกเว้นด้านการทหาร การทหารและเศรษฐกิจโดยไม่ทำสงครามกันอย่างเปิดเผย 


สหรัฐอเมริกาได้ประกาศวาทะทรูแมน (Trueman หลัก) ในค. ศ 1947 มีสาระสำคัญว่า แล้วแต่สหรัฐจะเห็นสมควรโดยไม่ จำกัด ขนาดเวลาและสถานที่ .... จะให้ความช่วยเหลือประเทศต่าง ๆ แผน) องค์การโคมินฟอร์ม (Cominform) ใน ค.ศ. 1947 ๆ โดยเฉพาะในยุโรปตะวันออกต่อมาได้ซึ่งพัฒนามาเป็นองค์การโคมินเทอร์น (องค์การคอมมิวนิสต์สากล) การเผชิญหน้าทางทหารใน ค.ศ. 1949 (นอร์ทองค์การสนธิสัญญาป้องกันแอตแลนติก) ประกอบด้วยภาคี 12 ประเทศคืออังกฤษฝรั่งเศสเบลเยียมเนเธอร์แลนด์ลักซัมเบอร์กสหรัฐอเมริกาแคนาดาเดนมาร์คไอซ์แลนด์อิตาลีนอร์เวย์และเปอร์ตุเกสต่อมาตุรกีและกรีซได้เข้าเป็นสมาชิกและในค. ศ 1955 (วอร์ซอ ประเทศภาคีคือสหภาพโซเวียตเยอรมนีตะวันออกโปแลนด์ฮังการีรูมาเนียบัลกาเรียและเชคโกสโลวาเกีย





วิกฤตการณ์เบอร์ลิน (ปิดล้อมเบอร์ลิน) ค.ศ. 1948 

เบอร์ลินถูกแบ่งเป็น 4 ส่วนแบ่งเขตยึดครองคือฝรั่งเศสอังกฤษสหรัฐอเมริกา 19 มิถุนายน 1948 ถึงพฤษภาคม 1949 มิให้มีการติดต่อกับภายนอก โดยปิดเส้นทางคมนาคมทางบกทางน้ำ 1 ปี เยอรมันนีเป็น 2 ประเทศและแบ่งเบอร์ลินเป็น 2 ส่วนอย่างถาวร

การแบ่งเขตยึดครองเบอร์ลินของของมหาอำนาจ 4 ประเทศสร้างกำแพงยาวกว่า 27 ไมล์
กั้นระหว่างเบอร์ลินในค. ศ. 1961 เรียกกำแพงเบอร์ลิน
ในค.ศ. 1949 เยอรมนีตะวันตกได้ตั้งเป็นประเทศชื่อว่า สาธารณรัฐประชาธิปไตยเยอรมันเมื่อแบ่งประเทศแล้ว ทำให้รัสเซียต้องสร้างกำแพงยาวกว่า 27 ไมล์กั้นระหว่างเบอร์ลินใน ค.ศ. 1961 เรียกกำแพงเบอร์ลิน

เครื่องบินสัมพันธมิตรขนส่งอาหารให้กับประชาชนในเบอร์ลินตะวันตก

กำแพงเบอร์ลิน
กำแพงเบอร์ลินสร้างในปี ค.ศ. 1961 แบ่งเบอร์ลินตะวันตกและตะวันออกออกจากกัน และถูกทำลายไปเมื่อ ค.ศ. 1989 ในเดือนมกราคม ค.ศ. 1990 โดยมิคาอิลกอบาชอฟ เรียกว่า 


  • คณะกรรมการบริหารวิชาบูรณาการ มรดกอารยธรรมโลก กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2545
  • สุปราณี ค.ศ. 1815 - 2 นครเบอร์ลิน
  • สุวิมลรุ่งเจริญ อารยธรรมสมัยใหม่ - ปัจจุบัน กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2540

-สงครามโลกครั้งที่ 1

สงครามโลกครั้งที่ 1


แผนที่สงครามโลครั้งที่ 1 แสดงการรบในยุโรปและตะวันออกกลาง
สงครามโลกครั้งที่ 1

            เริ่มใน ค.ศ. 1914 สิ้นสุดใน ค.ศ. 1918 เป็นความขัดแย้งระหว่างมหาอำนาจ 2 ค่ายคือประกอบด้วยเยอรมนีออสเตรีย - ฮังการีและอิตาลี (ผู้นำสำคัญคือบิสมาร์คแห่งเยอรมนี) กับฝ่ายประกอบด้วยสามข้อตกลง ได้แก่ บริเตนใหญ่ (อังกฤษ) ฝรั่งเศสและรัสเซีย - ฮังการี หรือไตรพันธมิตรมีการทำสนธิสัญญาแวร์ซายส์ สามข้อตกลง

สาเหตุสงครามโลกครั้งที่ 1 


ลัทธิชาตินิยม

15 เป็นต้นมาทำให้เกิดระบบรวมรัฐชาติสร้างระบบรวมอำนาจเข้าสู่ส่วนกลาง ทั้งทางทหารและเศรษฐกิจรัฐชาติหมายถึง มีความสามัคคีภาคภูมิใจในความเป็นชาติจงรักภักดีต่อพระมหากษัตริย์ หรือการทหารนำไปสู่​​การแข่งขันอำนาจกันจนกลายเป็นสงครามเช่นสงครามการรวมอิตาลีการรวมเยอรมนีจนถึงสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง 

ลัทธิจักรวรรดินิยม 

ลัทธิจักรวรรดินิยมหมายถึงประเทศที่พัฒนาแล้วประสบความสำเร็จด้านเศรษฐกิจการทหารและวิทยาศาสตร์เข้าครอบครองที่ด้อยพัฒนากว่า 19 เมื่อมีการปฏิวัติอุตสาหกรรมทำให้ต้องการวัตถุดิบและตลาดมหาอำนาจยุโรปเช่นอังกฤษฝ​​รั่งเศสปรัสเซีย (เยอรมนี) เนเธอร์แลนด์ และวิถีชีวิต 

การแบ่งกลุ่มพันธมิตรยุโรป 

เริ่มต้นใน ค.ศ. 1907 เมื่อเยอรมัน (ไตรพันธมิตร) ประจันหน้ากับรุสเซียเนื่องจากเยอรมนี ต่อมามีอิตาลีมาร่วมประเทศ ในฐานะรัฐในอารักขาฝ่ายออสเตรีย - โดยได้รับการสนับสนุนจากเยอรมนีอังกฤษฝ​​รั่งเศส (Triple Entente) ค.ศ. 1907 และเป็นพันธมิตรกับญี่ปุ่นด้วย 

ความขัดแย้งเรื่องแหลมบอลข่าน 

สาเหตุสำคัญเกิดจากการที่ออสเตรีย - ฮังการีขัดแย้งกับเซอร์เบีย เยอรมนีสนับสนุนออสเตรีย - ฮังการีขณะที่รัสเซียสนับสนุนเซอร์เบีย 

จุดระเบิดของสงครามโลกครั้งที่ 1 อาร์คฟรานซิสเฟอร์ดินานด์กับพระชายาโซเฟียถูกลอบปลงพระชนม์ในวันที่ 28 มิถุนายน ค.ศ. 1914 ที่เมืองซาราเจโวขณะเสด็จเยือนเมืองหลวงของบอสเนียโดยคนร้ายชื่อกาฟริโลป รินซิพ 28 กรกฎาคม 1914 

ผลของสงครามโลกครั้งที่ 1 

            1. การสถาปนาองค์การสันนิบาตชาติ แต่มีจุดอ่อนในการรักษาสันติภาพเพราะรัสเซีย ถอนตัวและสหรัฐอเมริกาไม่เข้าเป็นสมาชิก ทั้งยังไม่มีกองทหารรักษาสันติภาพด้วย 

            2 5 ฉบับ 

- สนธิสัญญาแวร์ซายส์ทำกับเยอรมนี ทำให้เกิดวิกฤติเศรษฐกิจทั่วโลกราคาสินค้าตกต่ำ 

- สนธิสัญญาแซงต์แยร์แมงทำกับออสเตรีย 
- สนธิสัญญาเนยยีทำกับบัลแกเรีย 
- สนธิสัญญาตริอานองทำกับฮังการี 
- สนธิสัญญาแซฟส์ทำกับตุรกี ต่อมาเกิดการปฏิวัติในตุรกีจึงมีการทำสนธิสัญญาใหม่เรียกว่าสนธิสัญญาโลซานน์ 

            3. ความเหลื่อมล้ำทางชนชั้น นำไปสู่​​การที่เลนิน 1 

            4 ระหว่างสงครามโลกครั้งที่ 1 ได้แก่ รัสเซีย ค.ศ. 1917 และในค. ศ 1924 -1953 ส่วนในเยอรมนีฮิตเลอร์ได้เป็นผู้นำใช้ระบบเผด็จการโดยอำนาจพรรคนาซีตั้งแต่ ค.ศ. 1933 และในอิตาลี 

            5. เกิดประเทศใหม่ 7 ฮังการียูโกสลาเวียโปแลนด์เชคโกสโลวาเกียลิทัวเนียแลตเวียแอสโตเนีย

อิทธิพลของอารยธรรมตะวันตก


อิทธิพลของอารยธรรมตะวันตก

อิทธิพลของอารยธรรมตะวันตก

            วัฒนธรรมตะวันออกและตะวันตกที่มีอิทธิพลต่อสังคมไทย  การติดต่อกับชาวต่างชาติของคนไทยในยุคสมัยต่างๆ มีผลต่อสังคมไทยหลายด้าน  วัฒนธรรมตะวันออกและตะวันตก ได้กลายเป็นส่วนหนึ่งของวัฒนธรรมไทย 
            โดยวัฒนธรรมบางอย่างได้ถูกปรับใช้ให้เหมาะสมกับวิถีชีวิตและประเพณีดั้งเดิมของคนไทย ขณะที่วัฒนธรรมบางอย่างรับมาใช้โดยตรง

            เช่นสุโขทัยล้านนา จีนเปอร์เซียเพื่อนบ้านเช่นเขมรมอญพม่าโดยผ่านการติดต่อค้าขายการรับราชการของชาวต่างชาติการทูตและการทำสงคราม
            สำหรับตัวอย่างอิทธิพลของวัฒนธรรมตะวันออกที่มีต่อสังคมไทยมีดังนี้
1. ด้านอักษรศาสตร์  เช่น รับภาษาบาลี ผ่านศาสนาพราหมณ์ - ฮินดูจากอินเดียเขมรนอกจากนี้ในปัจจุบันภาษาจีนญี่ปุ่นเกาหลีก็ได้มีอิทธิพลต่อสังคมไทยมากขึ้น

2. ด้านกฎหมาย   มีการรับรากฐานกฎหมายมีการรับรากฐานกฎหมายอินเดีย ได้แก่ คัมภีร์พระธรรมศาสตร์ โดยรับผ่านมาจากหัวเมืองมอญอีกต่อหนึ่ง และกลายเป็นหลักของกฎหมายไทยสมัยอยุธยาและใช้มาถึงสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น

3  ดังจะเห็นได้จากแว่นแคว้นโบราณเช่นทวารวดีหริภุญชัยได้นับถือพระพุทธศาสนาหรือสุโขทัย ๆ นอกจากนี้

 มาจากเรื่องรามายณะของอินเดียเรื่องอิเหนาจากชวา เช่นสามก๊กไซอิ๋ววรรณกรรมของชาติอื่น ๆ เช่นราชาธิราชของชาวมอญอาหรับราตรีของเปอร์เซียเป็นต้น

5. ด้านศิลปวิทยาการ  เช่น ศรีลังกา

6. ด้วยวิถีการดำเนินชีวิต เช่นคนไทยสมัยก่อนนิยมกินหมากพลู เครื่องเทศจากอินเดียรับวิธีการปรุงอาหารแบบผัดการใช้กะทะการใช้น้ำมันจากจีนในด้านการแต่งกาย เป็นต้น

            สถาปัตยกรรมศิลปวิทยาการในสมัยรัตนโกสินทร์ตั้งแต่รัชกาลที่  3 เป็นต้นมาคนไทยรับวัฒนธรรมตะวันตกมากขึ้น

            ดัวอย่างวัฒนธรรมตะวันตกที่มีอิทธิพลต่อสังคมไทยที่สำคัญมีดังนี้
1. ด้านการทหาร   เป็นวัฒนธรรมตะวันตกแรก ๆ ที่คนไทยรับมาตั้งแต่อยุธยาโดยซื้ออาวุธปืนมาใช้มีการสร้างป้อมปราการตามแบบตะวันตกเช่น ออกแบบโดยวิศวกรชาวฝรั่งเศส มีการตั้งโรงเรียนนายร้อยการฝึกหัดทหารแบบตะวันตก

2. ด้ารการศึกษา   ในสมัยรัชกาลที่ 3 มีชนชั้นนำจำนวนหนึ่งเช่น ในสมัยรัชกาลที่ 4
ในสมัย​​รัชการลที่ 5 มีการตั้งโรงเรียนแผนใหม่ ๆ เช่นโรงเรียนแพทย์โรงเรียนกฎหมายในสมัย​​รัชกาลที่ 6

 3. ด้านวิทยาการ  เช่นความรู้ทางด้านดาราศาสตร์ ความรู้ทางการแพทย์สมัยใหม่ซึ่งเริ่มในสม้ยรัชกาลที่ 3 ในสมัยรัชกาลที่ 5 มีการจัดตั้งโรงพยาบาลโรงเรียนฝึกหัดแพทย์และพยาบาล 
 พ.ศ. 2387 ชื่อ "บางกอกรีคอร์เดอร์" การพิมพ์หนังสือทำให้ความรู้ต่าง ๆ แพร่หลายมากขึ้นในด้านการสื่อสารคมนาคมเช่นการสร้างถนนสะพานโทรทัศน์โทรศัพท์กล้องถ่ายรูปรถยนต์รถไฟฟ้าเครื่องคอมพิวเตอร์เป็นต้น

 เช่นประชาธิปไตยคอมมิวนิสต์สาธารณรัฐแพร่เข้ามาในไทย นอกจากนี้ และการสร้างแนวคิดใหม่ ๆ ในสังคมไทยเช่นการเข้าใจวรรณกรรมรูปแบบนวนิยายเช่นงานเขียนของดอกไม้สดศรีบูรพา

 5  ๆ มาใช้ เช่น การนั่งเก้าอี้แทนการนั่งพื้น การปลูกสร้างพระราชวังอาคารบ้านเรือนแบบตะวันตกตลอดจนนำกีฬาของชาวตะวันตกเช่นฟุตบอลกอล์ฟเข้ามาเผยแพร่เป็นต้น

พัฒนาการทางประวัติศาสตร์ทวีปอเมริกาใต้


พัฒนาการทางประวัติศาสตร์ทวีปอเมริกาใต้

พัฒนาการทางประวัติศาสตร์ทวีปอเมริกาใต้

ภูมิหลังทางประวัติศาสตร์

            การตั้งถิ่นฐานของชนพื้นเมืองก่อนที่ชาวยุโรปจะเข้ายึดครอง เชื่อกันว่าชาวอินเดียนแดงได้อพยพมาจากทวีปเอเชีย 
            โดยเดินทางข้ามช่องแคบเบริ่งเร่ร่อนจากทวีปอเมริกาเหนือลงสู่ทวีปอเมริกาใต้ และมาตั้งหลักแหล่งอย่างมั่นคงบริเวณเทือกเขาแอนดีส 
            มีหลักฐานที่เด่นชัดคือซากเมืองมาชูปิกชูชู Piachu ของอาณาจักรอินคาบริเวณประเทศเปรู 
            20,000 ปีที่ผ่านมา ล่าสัตว์เก็บของป่ากิน 
            จนถึงยุคการปลูกพืชพรรณและเลี้ยงสัตว์ กลายเป็นการวางรากฐานด้านเกษตรกรรมอย่างเป็นระบบ 
            ตามความเชื่อของมนุษย์ในสมัย​​นั้น 
            เมื่อ 8,000 สามารถเพาะปลูกพืชได้หลายชนิดตามลักษณะภูมิอากาศเช่นมันฝรั่งฮอลลูโกกวีนัวกีวีชาฟักทองฝ้ายพริกข้าวโพด ฯลฯ
            ในยุคเปรูโบราณลามาอัลปาก้าและวิกูญาเป็นสัญลักษณ์ของความสมบูรณ์ เนื้อสัตว์สำหรับประกอบอาหาร ๆ ๆ ได้ 
            เมื่อ 7,000 ปีก่อนคริสตศักราช ซึ่งอยู่สูงกว่าระดับน้ำทะเลกว่า 4,200 เมตร 
            ที่ซึ่งยากแก่การทำสวนไร่นาและชีวิตความเป็นอยู่ขึ้นกับการเคลื่อนที่ไปมา ทำให้เข้าถึงระบบนิเวศวิทยาที่หลากหลาย พร้อมทั้งแหล่งทรัพยากรทางเศรษฐศาสตร์ที่เติมให้สมบูรณ์ 
            ขณะที่วัฒนธรรมภาคพื้นค่อยๆรวมตัวเข้าด้วยกันเทคนิคใหม่ ๆ ก็เกิดขึ้นมาเช่นการทอเส้นใยการทำโลหะผสมและการทำอัญมณีทำให้วัฒนธรรมระดับสูงเกิดขึ้นเช่น
ชาแวง (1,000 ปีก่อนคริสตศักราช)
พารากัส (700 ปีก่อนคริสตศักราช)
โมช (100 ปีหลังคริสตศักราช)
นาซก้า (300 ปีหลังคริสตศักราช)
วารี (600 ปีหลังคริสศักราช)
ชิมู (700 ปีหลังคริสตศักราช)
ชาชาโปยาส (800 ปีหลังคริสตศักราช)
และอาณาจักรอินคา 1,500 ปีหลังคริสตศักราช
            อำนาจอธิปไตยของชาวอินคาคือผู้นำสูงสุดของทาวันทินซูยู (อาณาจักรอินคา) 

            ๆ เช่นป้อมซัคเซย์วาแมนและป้อมมาชูปิกชู
            เมื่อคริสโตเฟอร์โคลัมบัส  คริสโคลัมบัสชาวอิตาเลียนเดินทางสำรวจพบทวีปอเมริกาใน ค.ศ. 1492 แล้ว 
            ในปี ค.ศ. 1499 นักเดินเรือชาวอิตาลียนชื่อ  อเมริโกเวสปุกชี  ​​Americo Vespucci เดินทางสำรวจให้กับสเปน ทะเลสาบมาราไคโบ 
            คล้ายหมู่บ้านของชาวเวนิส  เวนิสน้อย 

            ในปี ค.ศ. 1500 นักเดินเรือชาวโปรตุเกสชื่อ เปโดรอัลวาเรสคาบรัล เปโดร Alvares รัล 
            หลังจากนั้นชาวโปรตุเกสก็เข้ายึดครองทางด้านตะวันออกของทวีป ส่วนสเปนก็เข้าสำรวจทางด้านตะวันตกจากภาคเหนือสู่ภาคใต้ ซึ่งในที่สุดได้นำไปสู่การก่อตั้งอาณานิคมของชาวสเปนหลายแห่ง

            เริ่มตั้งแต่ ค.ศ. 1492 โคลัมบัสได้รับการแต่งตั้งจากพระนางเจ้าอีสเบลลาแห่งสเปน
ค.ศ. 1519 เฮอร์นานคอร์เตสเฮอร์นันคอร์เทสได้พิชิตอาณาจักรแอชเต็กในเม็กซิโก
            ค.ศ. 1531 ฟรานซีสโกปิซาโรฟรานซิสโรเข้าสำรวจพบอาณาจักรอินคาและทำสงครามกับชาวอินคานาน 5 ปีสามารถปราบอาณาจักรอินคาได้
            ค.ศ. 1541 เปโดรเดอวัลดิเวีย Pedro de Valdivia นำทหารสเปนเข้าครอบครองดินแดนชิลีได้สำเร็จ

            ดินแดนส่วนใหญ่ในทวีปอเมริกาใต้ตกเป็นอาณานิคมของสเปนและโปรตุเกส  ยกเว้น 
กายอานาและฟอร์กแลนด์  เป็นของสหราชอาณาจักร
เฟรนซ์กิอานา  เป็นของฝรั่งเศส
สุรินาเม เป็นของเนเธอร์แลนด์

การประกาศเอกราชของประเทศต่าง ๆ ในทวีปอเมริกาใต้

            ตั้งเป็นประเทศสหรัฐอเมริกาและแคนาดา 
            ได้ก่อการกบฏขึ้นในปี ค.ศ. 1810 ขับไล่แม่ทัพของสเปนออกไปและตั้งคณะกรรมการขึ้นปกครองตนเอง 
            โดยมีผู้นำในอาณานิคมหลายคน เช่น
            ในปี ค.ศ. 1818 โฮเซเดอซานมาร์ตินโฮเซเดอซานมาร์ตินเป็นผู้นำในการปลดปล่อยในอาร์เจนตินาและชิลีให้เป็นเอกราช
            ในปี ค.ศ. 1821 ซิมอนโบลิวาร์ไซมอนโบลิวาร์เป็นผู้นำในการปลดปล่อยเอกวาดอร์และเวเนสุเอลาได้สำเร็จ
            ในปี ค.ศ. 1822 โอรสของกษัตริย์แห่งโปรตุเกสก็ประกาศบราซิลให้เป็นเอกราชโดยมีพระองค์เป็นปฐมกษัตริย์ ค.ศ. 1889

พัฒนาการทางประวัติศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ



พัฒนาการทางประวัติศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ

ทวีปอเมริกาเหนือ 

            เป็นทวีปที่ใหญ่เป็นอันดับ 3 ของโลกรองจากทวีปเอเชียและแอฟริกาตามลำดับ 
            ประกอบด้วยภูมิภาคอเมริกาเหนือและอเมริกากลาง ซึ่งแบ่งแยกกันอย่างชัดเจนตามขอบเขตของประเทศ  โดยมีแม่น้ำริโอแกรนด์เป็นแนวเขตแดน 
            ภูมิภาคอเมริกาเหนือมีเพียง 3 ประเทศคือประเทศแคนาดาสหรัฐอเมริกาประเทศเม็กซิโก ซึ่งส่วนใหญ่ใช้ภาษาอังกฤษเป็นภาษาราชการ 
            ประกอบด้วยประเทศทั้งใหญ่และเล็กรวมถึงประเทศที่เป็นหมู่เกาะจำนวน 21 ประเทศ 
            และประเทศปานามาอยู่ใต้สุดมีพรมแดนติดกับทวีปอเมริกาใต้ 
            สภาพโดยรวมแล้วประชากรในอเมริกาเหนือมีชีวิตความเป็นอยู่ดีกว่าอเมริกากลาง 
            โลกใหม่ซีกโลกตะวันตกหรือทวีปอเมริกา 
            แต่เริ่มจากคอคอดเตวานเตเปก (Tehuantepec) ในประเทศเม็กซิโกซึ่งอยู่ในอเมริกากลาง

ภูมิหลังทางประวัติศาสตร์

            คริสโตเฟอร์โคลัมบัส ชาวเมืองเจนัวประเทศอิตาลีได้รับอาสาพระนางอิสเบลลาแห่งสเปนเดินเรือสำรวจมหาสมุทรแอตแลนติก 
            เพื่อค้นหาเส้นทางไปยังทว​​ีปเอเชียเขาเดินทางมาพบทวีปอเมริกาเหนือในปี พ.ศ. 2035 และเดินทางมาสำรวจอีก 3 ครั้งในเวลาต่อมา
            โดยเข้าใจว่าได้ดินแดนที่พบนี้คือทวีปเอเชียต่อมา  อเมริโกเวสปุคชี ชาวเมืองฟลอเรนซ์ประเทศอิตาลี เพื่อสำรวจให้กับสเปนและโปรตุเกสรวม 4 ครั้ง 
            ในปีพุทธศักราช 2040, 2042, 2044 และ 2046 รายงานของเขาถูกตีพิมพ์เผยแพร่ เวสปุคชี 
            พวกที่เดินทางสู่อเมริกาโดยเรือขนาดเล็กต่างเบียดเสียดกันอย่างแสนสาหัสตลอดเวลาการเดินทาง 16 สัปดาห์ 
            ยังชีพด้วยการแบ่งปันส่วนอาหารหลายครั้งที่ถูกพายุพัดเสียหายผู้คนล้มป่วยและตายลงเป็นจำนวนมาก เด็กทารกนั้นยากนักที่จะมีชีวิตรอดได้
            ภาพแผ่นดินใหม่ที่ชาวอาณานิคมได้เห็นคือภาพป่าทืบอุดมสมบูรณ์ด้วยพันธุ์ไม้อันหมายถึงว่าได้จะมีไม้ฟืนสำหรับต่อเรือปลูกบ้านทำสีย้อมผ้าตลอดจนเครื่องใช้ต่างๆ  อย่างพร้อมสรรพ 
            ดินแดนที่ถูกค้นพบใหม่ได้มีการแย่งชิงกันหลายชาติ อ่าวฮัดสันและชายฝั่งมหาสมุทรแอตแลนติก
            ส่วนตอนกลางของอ่าวเม็กซิโกขึ้นไปตลอดลุ่มแม่น้ำมิสซิสซิปปีทะเลสาบทั้ง 5 และชายฝั่งตะวันออกของแคนาดาเป็นอาณานิคมของฝรั่งเศส
            คือความปรารถนาในการสร้างฐานะความอยากที่จะเผชิญโชค
            ฝรั่งเศสเป็นฝ่ายแพ้สงคราม ทำให้อาณานิคมของอังกฤษขยายออกไป
            ๆ จากชาวอาณานิคม 
            เช่น พ.ร.บ. น้ำตาล พ.ศ. 2307 อังกฤษ พ.ร.บ. แสตมป์พ.. ศ 2308 ให้ปิดแสตมป์สิ่งพิมพ์ทุกชนิด 
            และแล้วในวันที่ 16 ธันวาคม พ.ศ. 2316 ณ เมืองบอสตัน 
            ชาวอาณานิคม แล้วขนหีบหอใบชาโยนทิ้งทะเลเหตุการณ์ครั้งนี้เรียกว่า  "บอสตันทีปาร์ตี" 
            ของชาวอาณานิคมต่อต้านรัฐบาลอังกฤษอย่างจริงจัง 6 ปี 
            มีการสู้รบเกิดขึ้นทุกแห่งโดยมียอร์ชวอชิงตันเป็นแม่ทัพและแล้วในวันที่ 4 กรกฏาคมพ.. ศ 2319 สหรัฐอเมริกาได้ประกาศอิสรภาพ ณ เมืองฟิลาเดลเฟีย
            โดยโทมัสเจฟเฟอสันเป็นผู้ร่างคำประกาศอิสรภาพไม่เพียง แต่เกิดชาติใหม่เท่านั้น แต่เป็นการประกาศให้โลกรู้ถึง ความสำคัญของสิทธิมนุษยชนและเสรีภาพ 
            ในระยะแรกมีเพียง 13 รัฐเท่านั้น ที่อยู่ทางชายฝั่งตะวันออกด้านมหาสมุทรแอตแลนติก ที่รวมกันเข้าเป็นประเทศสหรัฐอเมริกา 
            ซึ่งก็ต้องประสบกับ ๆ 
    
            การขยายตัวของสหรัฐอเมริกาไปทางทิศตะวันตก  ในครึ่งหลังของพุทธศตวรรษที่ 24 โดยวิธีต่าง ๆ ดังนี้คือ
            1 โดยการบุกเบิกจับจองที่ดินว่างเปล่า
            2. โดยการซื้อ
2.1 รัฐหลุยเซียนาซื้อจากฝรั่งเศส 15 ล้านดอลลาร์
2.2 รัฐฟลอริดาซื้อจากสเปน 5 ล้านดอลลาร์
2.3 แคลิฟอร์เนียซื้อจากเม็กซิโก 10 ล้านดอลลาร์
2.4 อลาสก้าซื้อจากรัสเซีย 7.2 ล้านดอลลาร์
            3 โดยการผนวกดินแดนคือรัฐฮาวายและเท็กซัส
            4 โดยการทำสงครามได้แคลิฟอร์เนียและนิวเม็กซิโกจากการรบชนะเม็กซิโก

            ไม่เป็นอาณานิคมของอังกฤษแล้ว แต่อยู่ใกล้กับสหรัฐอเมริกา 
            ทำให้รัฐบาลอังกฤษต้องอะลุ่มออล่วยให้แคนาดาบ้าง ต่อมาภายหลังได้ให้แคนาดาปกครองตนเอง โดยมีฐานะที่เรียกว่า“ดอมิเนียนแห่งแคนาดา”
            หลังจากสงครามโลกครั้งที่ 1 แล้ว มีความผูกพันกับอังกฤษ 
            จะเห็นได้ว่าประเทศในกลุ่มแองโกลอเมริกา ได้สร้างชาติของตนให้ยิ่งใหญ่ขึ้นมาไม่นานนัก ทั้งสหรัฐอเมริกาและแคนาดา 
            แม้จะพยายามสร้างเอกลักษณ์ของตนขึ้นมาเพียงใด ก็ยังคงมีสายใยของความผูกพันกับประเทศในยุโรปโดยเฉพาะอังกฤษ 
            ทั้งนี้อาจสืบเนื่องมาจากเชื้อชาติศาสนาภาษาขนบธรรมเนียมประเพณีและประสบการณ์ทางประวัติศาสตร์ที่มีร่วมกันเป็นระยะเวลานาน

พัฒนาการทางประวัติศาสตร์ทวีปยุโรป



พัฒนาการทางประวัติศาสตร์ทวีปยุโรป

ทวีปยุโรป

            ทวีปยุโรป เป็นทวีปที่อยู่บนผืนแผ่นดินเดียวกับทวีปเอเชีย มีลักษณะคล้ายกับเป็นคาบสมุทรใหญ่ของทวีปเอเชีย 
            จึงมีผู้เรียกทวีปยุโรป  คือ แนวเทือกเขาอูราลและแม่น้ำอูราล

ที่ตั้ง

            36 องศาเหนือถึง 71 องศาเหนือและลองจิจูดประมาณ 9 องศาตะวันตกถึงลองจิจูดประมาณ 66 องศาตะวันออกกล่าวคือทวีปยุโรป (ละติจูดที่ 23 องศาเหนือ½)

ขนาด

            ทวีปยุโรปมีพื้นที่ประมาณ 10 ล้านตารางกิโลเมตรมีขนาดใหญ่เป็นลำดับที่ 6 ของโลกรองจากทวีปเอเชียแอฟริกาอเมริกาเหนืออเมริกาใต้แอนตาร์กติกา แต่ใหญ่กว่าออสเตรเลีย

อาณาเขตติดต่อ  มีดังนี้

            ทิศเหนือ  ติดต่อกับมหาสมุทรอาร์กติกและมีทะลต่าง ๆ ได้แก่ ทะเลขาว  ทะเลแบเรนต์ส มาก ใช้เดินเรือไม่ได้คาบสมุทรสำคัญด้านนี้ ได้แก่ 

            ทิศตะวันออก  ติดต่อเป็นผืนแผ่นดนเดียวกันกับทวีปเอเชีย โดยมีเทือกเขาอูราลแม่น้ำอูราลและทะเลสาบแคสเปียนเป็นแนวพรมแดน 

            ทิศตะวันตก  ติดต่อกับมหาสมุทรแอตแลนติก มีทะเลต่าง ๆ ได้แก่ ทะเลนอร์วิเจียนทะเลเหนือทะเลไอริชและทะเลบอลติกเกาะ  สำคัญทางด้านนี้ ได้แก่ เกาะบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์เกาะเกาะไอซ์แลนด์

            ทวีปยุโรปเป็นทวีปที่มีชายฝั่งทะเลที่ยาวที่สุดในโลก ทั้งนี้เพราะความเว้าแหว่งของชายฝั่งทะเลมีมากนั่นเอง 
            และยังทำให้มีคาบสมุทรหลายแห่ง ได้แก่ 
  1. คาบสมุทรสแกนดิเนเวีย ซึ่งเป็นที่ตั้งของประเทศนอร์เวย์และสวีเดิน คาบสมุทรจัดแลนด์เป็นที่ตั้งของประเทศเดนมาร์ก 
  2. คาบสมุทรไอบีเรียเป็นที่ตั้งของประเทศสเปนและโปรตุเกส 
  3. คาบสมุทรอิตาลีเป็นที่ตั้งของประเทศอิตาลี 
  4. คาบสมุทรบอลข่าน แอลเบเนียโรมาเนียบัลแกเรียแอลกรีซ  (สาธารณรัฐเฮเลนิก) 
  5. คาบสมุทรไครเมียในประเทศยูเครน

ภูมิหลังทางประวัติศาสตร์ของทวีปยุโรป

            2,000 ปีมาแล้ว
            มีหลักฐานปรากฎอย่างชัดเจนว่าได้ความเจริญของทวีปยุโรปทีรากฐานกำเนิดจากอารายธรรมไมโนน  (อารยธรรมมิโนอัน) 
            ที่มีศูนย์กลางอยู่ที่เกาะครีต (Crete)ตอนใต้ของคาบสมุทรบอลข่านในทะลเมดิเตอร์เรเนียน 
            อารยธรรมไมโนนเป็นอารยธรรม 2 แห่งคือ 
            อารยธรรมอียิปต์  (ลุ่มแม่น้ำไนล์) 
            อารยธรรมเมโสโปเตเมีย  (ลุ่มแม่น้ำไทกรีส-ยูเฟรติส) 
            จนมีเอกลักษณ์เป็นของตนเอง ในบริเวณทะเลเมดิเตอร์เรเนียน 
            โดยเฉพาะคาบสมุทรบอลข่านและคาบสมุทรอิตาลี จึงนับว่าชนชาติกรีกและชนชาติโรมัน  มีส่วนสำคัญที่สุดในการวางรากฐานความเจริญในยุโรป
            ในเขตประเทศออสเตรียในปัจจุบันได้อพยพเข้ามาตั้งถิ่นฐานในบริเวณคาบสมุทรบอลข่านเมื่อประมาณ 2,000 ปีก่อนคริสต์กาล 
            ของอารยธรรมไมโนนไปจากเกาะครีต 
            และหลังจากนั้นชนชาติโรมันซึ่งตั้งถิ่นฐานในบริเวณคาบสมุทรอิตาลี ก็ได้รับความเจริญไปจากชนชาติกรีกอีกทอดหนึ่ง 
            กรีกได้ทิ้งมรดกทางศิลปะวัฒนธรรมอันมีค่าหลายประการไว้แก่โลกตะวันตก เพราะกรีกเป็นนักคิดและนักสร้างสรรค์  ที่สำคัญ
            ผลงานที่เด่น ๆ ได้แก่ สถาปัตยกรรมประติมากรรมวรรณกรรมปรัชญา 
            และที่สำคัญที่สุดคือการปกครองระบอบประชาธิบไตย แก่ประเทศต่างๆในปัจจุบัน 
            ส่วน  ชนชาติโรมัน นั้นแม้ว่าจะรับความเจริญต่างๆทางศิลปวัฒนธรรมมาจากกรีก แต่ก็รู้จักที่จะนำมาประยุกต์ดัดแปลงให้เกิดประโยชน์ทางด้านการใช้สอยให้คุ้มค่า 
ผลงานทางศิลปะต่าง ๆ  ในทวีปยุโรป 
            ได้ขยายอำนาจครอบครองดินแดนกรีกและดินแดนของชนชาติอื่น ๆ ในบริเวณใกล้เคียง 
            จนทำให้อาณาจักรโรมัน เขตครอบคลุมเกือบทั่วภาคพื้นทวีปยุโรป 
            โดยมีอาณาเขตตั้งแต่ตะวันตกของทวีปยุโรปคาบสมุทรอิตาลีคาบสมุทรบอลข่านดินแดนชายฝั่งตะวันออกของทะเลเมดิเตอร์เรเนียน ตลอดไปจนถึงบริเวณตอนเหนือของทวีปแอฟริกา 
            จักรวรรดิโรมันเป็นศูนย์กลางความเจริญของทวีปยุโรปอยู่ประมาณ 300 ปี ภายหลังที่มีการแบ่งแยกจักรวรรดิออกเป็น
            จักรวรรดิโรมันตะวันตก  โดยมีเมืองหลวงอยู่ทีกรุงโรม
            และจักรวรรดิโรมันตะวันออก ในคริสต์ศตวรรษที่ 4 แล้ว 

            เผ่าติวตันเข้ารุกรานและยึดครองใน ค.ศ. 476 
            ซึ่งมีผลทำให้ความเจริญต่าง ๆ ทางศิลปวัฒนธรรมหยุดชะงักลง ภายหลังการุกรานของอนารยชนเต็มไปด้วยความวุ่นวายสับสน 
            บ้านเมืองระส่ำระสายไปทั่วมีศึกสงครามติดต่อกันเกือบตลอดเวลาจนเป็นเหตุให้ ต้องหยุดชะงักลง 
            และทำให้ทวีปยุโรปตกอยู่ในสภาวะที่เรียกว่า ยุคมืด ยุคมืด ซึ่งอยู่ระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 5-10 
            ในระหว่างนั้นคริสต์ศาสนาได้เข้ามามีบทบาทสำคัญต่อการดำเนินชีวิตของชาวยุโรป 
            เพราะเป็นระยะเวลาที่ประชาชน  กำลังแสวงหาที่พึ่งทางใจ วัดและสันตะปาปาคือศูนย์รวมแห่งจิตใจของประชาชน คริสต์ศาสนาจึงขยายตัวอย่างรวดเร็วในระยะนั้น
            อิทธิพลทั้งด้านการปกครองเศรษฐกิจและสังคมรวมทั้งศิลปวัฒนธรรมต่างๆชาวตะวันตกต่างพากันยอมรับในความยิ่งใหญ่่และอำนาจของพระเจ้า ในการดลบันดาลทุกสิ่งทุกอย่างให้เกิดขึ้น 
            จนทำให้เกิดความกลัวที่จะคิดหรือกระทำการใดๆ ที่นอกเหนือไปจากกฎเกณฑ์ที่ทางศาสนาได้กำหนดไว้
            อย่างไรก็ตามในระยะคริสต์ศตวรรษที่ 14-16 ไปในทางที่ดีคือการฟื้นฟูศิลปวิทยาการหรือ  เรอเนสซองส์ยุคฟื้นฟูศิลปวิทยา 
            ซึ่งทำให้มีการฟื้นฟูศิลปวิทยาการกรีก-โรมัน ที่หยุดชะงักไปตั้งแต่ยุคมืดขึ้นมาใหม่ 
            เริ่มมองทุกอย่างในลักษณะของเหตุผลรู้จักใช้สติปัญญาตน ดังที่เคยปฏิบัติมาในยุคมืด 
            เริ่มมีความคิดว่ามนุษย์สามารถที่จะพัฒนาตนเองได้ สามารถปรับปรุง ทุกอย่างให้ดีขึ้นได้ด้วยความสามารถตนเอง
            สมัยเรอเนสซองส์จึงเป็นสมัยที่ก้าวไปสู่ความเจริญอย่างไม่หยุดยั้งของโลกตะวันตกในระยะต่อมา 
            ได้ย้ายมาอยู่ในบริเวณประเทศต่างๆ เช่นอังกฤษฝ​​รั่งเศสโปรตุเกสสเปนเนเธอร์แลนด์เยอรมนีเป็นต้น 
            นับตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 16 เป็นต้นมา ที่สะท้อนให้เห็นการพัฒนาในด้านความคิดริเริ่มสร้างสรรค์และความเป็นตัวของตัวเองของมนุษย์ 
            เป็นอย่างมากอาทิ 16 
            โดยนักบวชชาวเยอรมนี  มาร์ตินลูเธอร์  มาร์ติน Luthur ค.ศ. 1483-1546  ในการแสดงออก
            ซึ่งการต่อต้านคัดค้านนิกายดั้งเดิม คือ  โรมันคาทอลิก ที่เคยมีอิทธิพลอย่างมากมาก่อน 
            นอกจากนี้การปฏิวัติทางวิทยาศาสตร์ในคริสต์ศตวรรษที่ 16-17 มีผลทำให้มนุษย์เริ่มค้นคว้าหาความจริงจากธรรมชาติ 
            มีการพิสูจน์ว่าโลกกลม ซึ่งมีผลต่อการริเริ่มสำรวจทางทะเล วันที่ 16-17 
            และทำให้วัฒนธรรมตะวันตกได้แผ่ขยายไปยังดินแดนอาณานิคมต่างๆ ทั้งในทวีปเอเชีย  ทวีปอเมริกาเหนือทวีปอเมริกาใต้ 
            รวมทั้งออสเตรเลียและนิวซีแลนด์ซึ่งอาจกล่าวได้ว่า เป็นระยะที่อิทธิพลของยุโรป  ทางด้านศิลปวัฒนธรรมได้แผ่ขยายตัวไปทั่วโลก

            18 โดยเริ่มต้นจากประเทศอังกฤษก่อน ในยุโรปตะวันตก 
            ที่นำไปสู่​​ความก้าวหน้าทางด้านเทคโนโลยีอย่างไม่หยุดยั้ง 
            ทั้งทางด้านอุตสาหกรรมและเทคโนโลยีมาจนถึงปัจจุบัน

ดอริก
ไอโอนิก
โครินเธียน
ศิลปะโกธิค (แบบกอธิค)
หัวเสาเป็นอารยธรรมของกรีกโบราณ 3 แบบ

ศิลปะโกธิค
เริ่มต้นขึ้นปลายพุทธศตวรรษที่ 17 มีอิทธิพลอยู่ประมาณ 350 ปี
วิหารพาร์เธนอน (Parthenon)
โคลอสเซียม (Colosseum)