
บทบาทอาเซียนในสังคมโลก
อาเซียน ทั้งในด้านเศรษฐกิจการเมืองสังคมและวัฒนธรรมซึ่งความเข้มแข็งของอาเซียน
ความสำคัญของอาเซียนในเวทีโลก
จากการที่ประชากรรวมกันแล้วเกือบ 600 ล้านคนซึ่งเป็นทั้งตลาดที่มีกำลังสูงมีแนวโน้มขยายตัวได้มาก ดังนี้
ความสำคัญทางด้านเศรษฐกิจ เช่นข้าวหอมมะลิน้ำมันปาล์มมะพร้าวเป็นต้นและยังเป็นแหล่งทรัพยากรที่สำคัญ ส่งผลให้ประเทศมีฐานะทางเศรษฐกิจดี ซึ่งหลายประเทศเช่นจีนอังกฤษไทยรวมถึงสหรัฐอเมริกา และเปิดรับการลงทุนจากภายนอก
มีประเทศที่มีแรงงานมีคุณภาพค่าแรงไม่สูงเช่นไทยเวียดนามฟิลิปปินส์ ในโลก
ความสำคัญทางการเมือง เช่น เช่นในสงครามเวียดนามในสงครามการเมืองกัมพูชาผู้อพยพที่เป็นชนกลุ่มน้อยในพม่าเป็นต้น
บทบาทของอาเซียนในเวทีเศรษฐกิจโลก
และเป็นตลาดที่มีกำลังซื้อสูง
คือเหตุการณ์อุทกภัยครั้งใหญ่ในปลาย พ.ศ. 2554 ในภาคกลางของประเทศไทย ทำให้การผลิตสินค้าหยุดชะงักกระทบถึงสินค้าในตลาดโลกเช่น ส่งผลให้สินค้าขาดตลาด
และกลุ่มประเทศนอกประเทศอาเซียนดังนี้
การสร้างความร่วมมือในประเทศสมาชิกอาเซียน
คือ โดยมีเป้าหมายหลักคือ เมื่อ พ.ศ. 2535 แต่อาเซียนมีเป้าหมายสูงสุดคือการเป็นประชาคมเศรษฐกิจทางการเงินและการคลัง
นอกจาการตั้งอาฟตาแล้ว คือจีนพม่าเวียดนามลาวกัมพูชาและไทยโดยรณรงค์ระหว่าง พ.ศ. 2543-2553 ให้สอดคล้องกับตลาดอาเซียน
และมูลค่าทางเศรษฐกิจสูง ส่วนสินค้าจากอาเซียนเช่นข้าวผลไม้ท้องถิ่นโดยเฉพาะทุเรียนลำไยเงาะ
อย่างไรก็ตาม คือปัญหาลักลอบค้ายาเสพติดสินค้าหนีภาษี หรือพ่อค้าสิ่งเสพติดซึ่งในระยะแรกที่การค้าขยายตัว
ขยายเศรษฐกิจของอาเซียนเพราะอาเซียนมีตลาดขนาดใหญ่มีกำลังซื้อสูง
การสร้างความร่วมมือกับประเทศหรือกลุ่มประเทศนอกอาเซียน
เช่น
ความร่วมมืออาเซียน +3 (ASEAN บวกสาม) คือ 10 ประเทศร่วมกับจีนญี่ปุ่นและเกาหลีใต้
ความร่วมมืออาเซียน +6 (เพิ่มอีก 3 ประเทศ ได้แก่ ออสเตรเลียนิวซีแลนด์และอินเดีย) (GDP) ใหญ่เป็น 1 ใน 4 ของโลก
9 ประเทศคือจีนญี่ปุ่นเกาหลีใต้สหรัฐอเมริกาแคนาดาออสเตรเลียอินเดียและรัสเซีย
เมื่อเปรียบเทียบกับเศรษฐกิจโลกดังนี้
อาเซียนสมาชิก 10 ประเทศประชากร 583 ล้านคน (9% ของประชากรโลก)
จีดีพี 1,275 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ (2% ของจีดีพีโลก)
อาเซียน +3 ประชากร 2,068 ล้านคน (31% ของประชากรโลก)
จีดีพี 9,901 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ (18% ของจีดีพีโลก)
อาเซียน + 6 ประชากร 3,284 ล้านคน (50% ของประชากรโลก)
จีดีพี 12,250 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ (22% ของจีดีพีโลก)
ที่มา: กรมเจรจาระหว่างประเทศกระทรวงพาณิชย์
เช่น (APEF) และกลุ่มประเทศลาตินอเมริกา 7 ประเทศ (ยกเว้นกัมพูชาลาวและพม่า) เป็นต้น
ดังนั้น หากการรวมกลุ่มภายในอาเซียนมีความเข้มแข็ง จะทำให้อาเซียนมีความพร้อมที่จะขยายการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจในระดับกว้างขวางขึ้น และเป็นศูนย์กลางของการร่วมกลุ่มในภูมิภาคนี้ได้ในที่สุด
การรวมกลุ่มประเทศยังเป็นผลดีต่อประเทศหรือประเทศในระยะยาว เพราะจะทำให้ไม่โดดเดี่ยวในยุคการค้าเสรี
No comments:
Post a Comment