Wednesday, June 24, 2015

พัฒนาการทางประวัติศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ



พัฒนาการทางประวัติศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ

ทวีปอเมริกาเหนือ 

            เป็นทวีปที่ใหญ่เป็นอันดับ 3 ของโลกรองจากทวีปเอเชียและแอฟริกาตามลำดับ 
            ประกอบด้วยภูมิภาคอเมริกาเหนือและอเมริกากลาง ซึ่งแบ่งแยกกันอย่างชัดเจนตามขอบเขตของประเทศ  โดยมีแม่น้ำริโอแกรนด์เป็นแนวเขตแดน 
            ภูมิภาคอเมริกาเหนือมีเพียง 3 ประเทศคือประเทศแคนาดาสหรัฐอเมริกาประเทศเม็กซิโก ซึ่งส่วนใหญ่ใช้ภาษาอังกฤษเป็นภาษาราชการ 
            ประกอบด้วยประเทศทั้งใหญ่และเล็กรวมถึงประเทศที่เป็นหมู่เกาะจำนวน 21 ประเทศ 
            และประเทศปานามาอยู่ใต้สุดมีพรมแดนติดกับทวีปอเมริกาใต้ 
            สภาพโดยรวมแล้วประชากรในอเมริกาเหนือมีชีวิตความเป็นอยู่ดีกว่าอเมริกากลาง 
            โลกใหม่ซีกโลกตะวันตกหรือทวีปอเมริกา 
            แต่เริ่มจากคอคอดเตวานเตเปก (Tehuantepec) ในประเทศเม็กซิโกซึ่งอยู่ในอเมริกากลาง

ภูมิหลังทางประวัติศาสตร์

            คริสโตเฟอร์โคลัมบัส ชาวเมืองเจนัวประเทศอิตาลีได้รับอาสาพระนางอิสเบลลาแห่งสเปนเดินเรือสำรวจมหาสมุทรแอตแลนติก 
            เพื่อค้นหาเส้นทางไปยังทว​​ีปเอเชียเขาเดินทางมาพบทวีปอเมริกาเหนือในปี พ.ศ. 2035 และเดินทางมาสำรวจอีก 3 ครั้งในเวลาต่อมา
            โดยเข้าใจว่าได้ดินแดนที่พบนี้คือทวีปเอเชียต่อมา  อเมริโกเวสปุคชี ชาวเมืองฟลอเรนซ์ประเทศอิตาลี เพื่อสำรวจให้กับสเปนและโปรตุเกสรวม 4 ครั้ง 
            ในปีพุทธศักราช 2040, 2042, 2044 และ 2046 รายงานของเขาถูกตีพิมพ์เผยแพร่ เวสปุคชี 
            พวกที่เดินทางสู่อเมริกาโดยเรือขนาดเล็กต่างเบียดเสียดกันอย่างแสนสาหัสตลอดเวลาการเดินทาง 16 สัปดาห์ 
            ยังชีพด้วยการแบ่งปันส่วนอาหารหลายครั้งที่ถูกพายุพัดเสียหายผู้คนล้มป่วยและตายลงเป็นจำนวนมาก เด็กทารกนั้นยากนักที่จะมีชีวิตรอดได้
            ภาพแผ่นดินใหม่ที่ชาวอาณานิคมได้เห็นคือภาพป่าทืบอุดมสมบูรณ์ด้วยพันธุ์ไม้อันหมายถึงว่าได้จะมีไม้ฟืนสำหรับต่อเรือปลูกบ้านทำสีย้อมผ้าตลอดจนเครื่องใช้ต่างๆ  อย่างพร้อมสรรพ 
            ดินแดนที่ถูกค้นพบใหม่ได้มีการแย่งชิงกันหลายชาติ อ่าวฮัดสันและชายฝั่งมหาสมุทรแอตแลนติก
            ส่วนตอนกลางของอ่าวเม็กซิโกขึ้นไปตลอดลุ่มแม่น้ำมิสซิสซิปปีทะเลสาบทั้ง 5 และชายฝั่งตะวันออกของแคนาดาเป็นอาณานิคมของฝรั่งเศส
            คือความปรารถนาในการสร้างฐานะความอยากที่จะเผชิญโชค
            ฝรั่งเศสเป็นฝ่ายแพ้สงคราม ทำให้อาณานิคมของอังกฤษขยายออกไป
            ๆ จากชาวอาณานิคม 
            เช่น พ.ร.บ. น้ำตาล พ.ศ. 2307 อังกฤษ พ.ร.บ. แสตมป์พ.. ศ 2308 ให้ปิดแสตมป์สิ่งพิมพ์ทุกชนิด 
            และแล้วในวันที่ 16 ธันวาคม พ.ศ. 2316 ณ เมืองบอสตัน 
            ชาวอาณานิคม แล้วขนหีบหอใบชาโยนทิ้งทะเลเหตุการณ์ครั้งนี้เรียกว่า  "บอสตันทีปาร์ตี" 
            ของชาวอาณานิคมต่อต้านรัฐบาลอังกฤษอย่างจริงจัง 6 ปี 
            มีการสู้รบเกิดขึ้นทุกแห่งโดยมียอร์ชวอชิงตันเป็นแม่ทัพและแล้วในวันที่ 4 กรกฏาคมพ.. ศ 2319 สหรัฐอเมริกาได้ประกาศอิสรภาพ ณ เมืองฟิลาเดลเฟีย
            โดยโทมัสเจฟเฟอสันเป็นผู้ร่างคำประกาศอิสรภาพไม่เพียง แต่เกิดชาติใหม่เท่านั้น แต่เป็นการประกาศให้โลกรู้ถึง ความสำคัญของสิทธิมนุษยชนและเสรีภาพ 
            ในระยะแรกมีเพียง 13 รัฐเท่านั้น ที่อยู่ทางชายฝั่งตะวันออกด้านมหาสมุทรแอตแลนติก ที่รวมกันเข้าเป็นประเทศสหรัฐอเมริกา 
            ซึ่งก็ต้องประสบกับ ๆ 
    
            การขยายตัวของสหรัฐอเมริกาไปทางทิศตะวันตก  ในครึ่งหลังของพุทธศตวรรษที่ 24 โดยวิธีต่าง ๆ ดังนี้คือ
            1 โดยการบุกเบิกจับจองที่ดินว่างเปล่า
            2. โดยการซื้อ
2.1 รัฐหลุยเซียนาซื้อจากฝรั่งเศส 15 ล้านดอลลาร์
2.2 รัฐฟลอริดาซื้อจากสเปน 5 ล้านดอลลาร์
2.3 แคลิฟอร์เนียซื้อจากเม็กซิโก 10 ล้านดอลลาร์
2.4 อลาสก้าซื้อจากรัสเซีย 7.2 ล้านดอลลาร์
            3 โดยการผนวกดินแดนคือรัฐฮาวายและเท็กซัส
            4 โดยการทำสงครามได้แคลิฟอร์เนียและนิวเม็กซิโกจากการรบชนะเม็กซิโก

            ไม่เป็นอาณานิคมของอังกฤษแล้ว แต่อยู่ใกล้กับสหรัฐอเมริกา 
            ทำให้รัฐบาลอังกฤษต้องอะลุ่มออล่วยให้แคนาดาบ้าง ต่อมาภายหลังได้ให้แคนาดาปกครองตนเอง โดยมีฐานะที่เรียกว่า“ดอมิเนียนแห่งแคนาดา”
            หลังจากสงครามโลกครั้งที่ 1 แล้ว มีความผูกพันกับอังกฤษ 
            จะเห็นได้ว่าประเทศในกลุ่มแองโกลอเมริกา ได้สร้างชาติของตนให้ยิ่งใหญ่ขึ้นมาไม่นานนัก ทั้งสหรัฐอเมริกาและแคนาดา 
            แม้จะพยายามสร้างเอกลักษณ์ของตนขึ้นมาเพียงใด ก็ยังคงมีสายใยของความผูกพันกับประเทศในยุโรปโดยเฉพาะอังกฤษ 
            ทั้งนี้อาจสืบเนื่องมาจากเชื้อชาติศาสนาภาษาขนบธรรมเนียมประเพณีและประสบการณ์ทางประวัติศาสตร์ที่มีร่วมกันเป็นระยะเวลานาน

No comments:

Post a Comment