Wednesday, June 24, 2015

อิทธิพลของอารยธรรมตะวันตก


อิทธิพลของอารยธรรมตะวันตก

อิทธิพลของอารยธรรมตะวันตก

            วัฒนธรรมตะวันออกและตะวันตกที่มีอิทธิพลต่อสังคมไทย  การติดต่อกับชาวต่างชาติของคนไทยในยุคสมัยต่างๆ มีผลต่อสังคมไทยหลายด้าน  วัฒนธรรมตะวันออกและตะวันตก ได้กลายเป็นส่วนหนึ่งของวัฒนธรรมไทย 
            โดยวัฒนธรรมบางอย่างได้ถูกปรับใช้ให้เหมาะสมกับวิถีชีวิตและประเพณีดั้งเดิมของคนไทย ขณะที่วัฒนธรรมบางอย่างรับมาใช้โดยตรง

            เช่นสุโขทัยล้านนา จีนเปอร์เซียเพื่อนบ้านเช่นเขมรมอญพม่าโดยผ่านการติดต่อค้าขายการรับราชการของชาวต่างชาติการทูตและการทำสงคราม
            สำหรับตัวอย่างอิทธิพลของวัฒนธรรมตะวันออกที่มีต่อสังคมไทยมีดังนี้
1. ด้านอักษรศาสตร์  เช่น รับภาษาบาลี ผ่านศาสนาพราหมณ์ - ฮินดูจากอินเดียเขมรนอกจากนี้ในปัจจุบันภาษาจีนญี่ปุ่นเกาหลีก็ได้มีอิทธิพลต่อสังคมไทยมากขึ้น

2. ด้านกฎหมาย   มีการรับรากฐานกฎหมายมีการรับรากฐานกฎหมายอินเดีย ได้แก่ คัมภีร์พระธรรมศาสตร์ โดยรับผ่านมาจากหัวเมืองมอญอีกต่อหนึ่ง และกลายเป็นหลักของกฎหมายไทยสมัยอยุธยาและใช้มาถึงสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น

3  ดังจะเห็นได้จากแว่นแคว้นโบราณเช่นทวารวดีหริภุญชัยได้นับถือพระพุทธศาสนาหรือสุโขทัย ๆ นอกจากนี้

 มาจากเรื่องรามายณะของอินเดียเรื่องอิเหนาจากชวา เช่นสามก๊กไซอิ๋ววรรณกรรมของชาติอื่น ๆ เช่นราชาธิราชของชาวมอญอาหรับราตรีของเปอร์เซียเป็นต้น

5. ด้านศิลปวิทยาการ  เช่น ศรีลังกา

6. ด้วยวิถีการดำเนินชีวิต เช่นคนไทยสมัยก่อนนิยมกินหมากพลู เครื่องเทศจากอินเดียรับวิธีการปรุงอาหารแบบผัดการใช้กะทะการใช้น้ำมันจากจีนในด้านการแต่งกาย เป็นต้น

            สถาปัตยกรรมศิลปวิทยาการในสมัยรัตนโกสินทร์ตั้งแต่รัชกาลที่  3 เป็นต้นมาคนไทยรับวัฒนธรรมตะวันตกมากขึ้น

            ดัวอย่างวัฒนธรรมตะวันตกที่มีอิทธิพลต่อสังคมไทยที่สำคัญมีดังนี้
1. ด้านการทหาร   เป็นวัฒนธรรมตะวันตกแรก ๆ ที่คนไทยรับมาตั้งแต่อยุธยาโดยซื้ออาวุธปืนมาใช้มีการสร้างป้อมปราการตามแบบตะวันตกเช่น ออกแบบโดยวิศวกรชาวฝรั่งเศส มีการตั้งโรงเรียนนายร้อยการฝึกหัดทหารแบบตะวันตก

2. ด้ารการศึกษา   ในสมัยรัชกาลที่ 3 มีชนชั้นนำจำนวนหนึ่งเช่น ในสมัยรัชกาลที่ 4
ในสมัย​​รัชการลที่ 5 มีการตั้งโรงเรียนแผนใหม่ ๆ เช่นโรงเรียนแพทย์โรงเรียนกฎหมายในสมัย​​รัชกาลที่ 6

 3. ด้านวิทยาการ  เช่นความรู้ทางด้านดาราศาสตร์ ความรู้ทางการแพทย์สมัยใหม่ซึ่งเริ่มในสม้ยรัชกาลที่ 3 ในสมัยรัชกาลที่ 5 มีการจัดตั้งโรงพยาบาลโรงเรียนฝึกหัดแพทย์และพยาบาล 
 พ.ศ. 2387 ชื่อ "บางกอกรีคอร์เดอร์" การพิมพ์หนังสือทำให้ความรู้ต่าง ๆ แพร่หลายมากขึ้นในด้านการสื่อสารคมนาคมเช่นการสร้างถนนสะพานโทรทัศน์โทรศัพท์กล้องถ่ายรูปรถยนต์รถไฟฟ้าเครื่องคอมพิวเตอร์เป็นต้น

 เช่นประชาธิปไตยคอมมิวนิสต์สาธารณรัฐแพร่เข้ามาในไทย นอกจากนี้ และการสร้างแนวคิดใหม่ ๆ ในสังคมไทยเช่นการเข้าใจวรรณกรรมรูปแบบนวนิยายเช่นงานเขียนของดอกไม้สดศรีบูรพา

 5  ๆ มาใช้ เช่น การนั่งเก้าอี้แทนการนั่งพื้น การปลูกสร้างพระราชวังอาคารบ้านเรือนแบบตะวันตกตลอดจนนำกีฬาของชาวตะวันตกเช่นฟุตบอลกอล์ฟเข้ามาเผยแพร่เป็นต้น

No comments:

Post a Comment